5 ส.ค. 2565 – ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ การรักษาสมเหตุสมผล
1.เมื่อไม่สบายแม้แต่นิดเดียวหรือรู้ว่าติด นั่นคือฟ้าทะลายโจร
2.วันที่สองเมื่อเอาไม่อยู่ เข้าถึงยาต้านไวรัสให้ได้ ไม่ว่า แก่หรือไม่แก่ มีหรือไม่มีโรคประจำตัว 608 หรือไม่
โมลนูพิราเวียร์ ฟาวิพิราเวียร์ก็ตามแต่ เพราะสายไป อาการอาจหนักขึ้นและต้องเข้าโรงพยาบาล (ถ้า “อาการหนัก” แต่ไม่แก่ ไม่ใช่ 608 ขอเบิกยาฟรี 16,000 บาท โมลนูพิราเวียร์ ถ้าติดทั้งบ้าน คงแย่)
3.ยังเอาไม่อยู่ หาโรงพยาบาลอยู่ และยาฉีด ยาต้านอักเสบ เนื่องจากตอนนี้ เริ่มไปไกล ยาฉีดหลายอย่าง มาเป็นขบวน
4.ถึงเวลาต้องใช้ยาก็ต้องใช้ ไวรัสกลายพันธุ์อยู่แล้ว เห็นกันมา 3 ปีแล้ว
1 และ 2 คือหัวใจ อาการเริ่มสีเหลือง คือต้อง “ทันที” ทันที คือ ทันที
ไม่เป็นการได้ยาเกินจริง และรักษาเร็ว หยุดเร็ว ป้องกัน ลองโควิด
วัคซีน ไม่ใช่ทางออกสุดท้าย ต้องยาด้วย
Testing vaccine therapeutics และ ที่สำคัญคือ การเห็นอกเห็นใจ ….ขอเท่านั้น.
ข่าวที่เกี่ยวข้อง
‘หมอธีระวัฒน์’ แนะอาหารช่วยชีวิต นมไม่พร่องไขมันกลับดี
อาหารสุขภาพช่วยชีวิต และทำให้มนุษย์เรา ไม่ต้องเป็นหม้อยาที่โดนโยนยาเป็นกำเข้ามา และแน่นอนโด๊ปยาเป็นกำก็ไม่รอด
'หมอยง' ชี้สถานการณ์โควิดเปลี่ยนตามกาลเวลา ปีนี้ยุติแล้ว แต่ไวรัสยังอยู่ต่อไป
ศ.นพ.ยง ภู่วรวรรณ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊กว่า 5 ปี โควิด 19 กาลเวลาเปลี่ยน สถานการณ์เปลี่ยน
บิดสะบัดคอระวังอัมพฤกษ์! ‘หมอธีระวัฒน์’ แนะวิธีแก้เมื่อยคอด้วยตัวเองที่ถูกต้อง
เรื่องใกล้ตัวที่เป็นท่าบริหารประจำหรือที่ทำ เวลาเมื่อย หรือเป็นกระบวนการในการนวดคลายเมื่อย ดัดเส้น รวมทั้ง เป็นกรรมวิธีในการบำบัดทางกายภาพและจัดกระดูก
ไทยติดโควิดใหม่รอบสัปดาห์ 549 ราย ดับเพิ่ม 1 คน
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข รายงานสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 รายสัปดาห์ว่า ระหว่างวันที่ 27 ตุลาคม - 2 พฤศจิกายน 2567