วิพากษ์ยุทธศาสตร์นาโตขยายตัว
ยุทธศาสตร์นาโตขยายตัว (NATO Enlargement, NATO expansion) เกิดขึ้นหลังสิ้นสงครามเย็น ขั้วรัสเซียแตก เกิดประเทศใหม่ที่แยกตัวออกจากสหภาพโซเวียต ประกาศเป้าหมายเพื่อความมั่นคงร่วมกัน การรับสมาชิกใหม่ๆ เข้ามาจะยิ่งทำให้มั่นคง เพราะชาติสมาชิกจะทำไม่สงครามต่อกัน ปกป้องกันและกัน
นโยบายไบเดนต่ออาเซียนและอินโด-แปซิฟิก
เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2021 แอนโทนี บลิงเคน รัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศเดินทางเยือนอาเซียน กล่าวสุนทรพจน์นโยบายสหรัฐต่ออาเซียนและอินโด-แปซิฟิก ย้ำว่า รัฐบาลสหรัฐให้ความสำคัญต่ออินโด-แปซิฟิกเพราะมีขนาดเศรษฐกิจถึง 60% ของโลก เป็นภูมิภาคที่โตเร็วที่สุดในขณะนี้ 5 ปีที่ผ่านมา 2 ใน 3 ของเศรษฐกิจโลกที่โตขึ้นมาจากที่นี่ ครอบคลุมประชากรครึ่งโลก
ระหว่างปลุกเร้าแบ่งขั้วกับแก้ปัญหาภายในข้อไหนดีกว่า
ในงาน Summit for Democracy เมื่อ 9 ธันวาคม ประธานาธิบดีโจ ไบเดน พูดชัดเรื่องการรวมตัวของฝ่ายประชาธิปไตย นอกจากร่วมสร้างประชาธิปไตยให้เข้มแข็ง อีกเป้าหมายสำคัญคือ ต่อต้านลัทธิอำนาจนิยมซึ่งเท่ากับแบ่งโลกออกเป็น 2 ขั้ว
ไบเดนขยับแบ่งโลกด้วยประชาธิปไตย
9 ธันวาคม 2021 ประธานาธิบดีโจ ไบเดน กล่าวสุนทรพจน์ในงานประชุมสุดยอดประชาธิปไตยครั้งแรก (Summit for Democracy) ที่สหรัฐเป็นผู้ริเริ่มและเป็นเจ้าภาพ เริ่มต้นด้วยการเอ่ยสถานการณ์ประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชนสากลกำลังเผชิญความท้าทายรุนแรงทั่วโลก
ประชาธิปไตยจีน ประชาธิปไตยที่ใช้การได้จริง
ประชาธิปไตยอยู่คู่มนุษยชาติ พรรคคอมมิวนิสต์จีนกับคนจีนยึดถือเรื่อยมา นับจากก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีนเมื่อ ค.ศ.1921 พรรคฯ ให้คนทั้งชาติตระหนักถึงประชาธิปไตยของประชาชนเรื่อยมา
ยุทธศาสตร์จีนในมุมมองของสหรัฐ 2021
ต้นเดือนพฤศจิกายน กระทรวงกลาโหมสหรัฐเสนอรายงานความก้าวหน้าทางทหารและความมั่นคงของจีนตามข้อมูลและมุมมองของตน ชื่อ “Military and Security Developments Involving the People’s Republic of China (PRC) 2021” ในบท Understanding China’s Strategy มีสาระสำคัญดังนี้
ประชาธิปไตยโลกในยุคโควิด-19
เมื่อวันอาทิตย์ 7 พฤศจิกายน ผู้ก่อการร้ายใช้โดรนติดระเบิดโจมตีบ้านพักของมุสตาฟา อัล-คาดิมี (Mustafa al-Kadhimi) นายกรัฐมนตรีอิรัก
ปฏิบัติการหมายสังหารนายกฯ อิรัก อัล-คาดิมี
เมื่อวันอาทิตย์ 7 พฤศจิกายน ผู้ก่อการร้ายใช้โดรนติดระเบิดโจมตีบ้านพักของมุสตาฟา อัล-คาดิมี (Mustafa al-Kadhimi) นายกรัฐมนตรีอิรัก
เมื่อโรฮีนจากลายเป็นเรื่องของอาเซียน
หลายคนกำลังสนใจจุดยืนของอาเซียนต่อเมียนมาเรื่องความขัดแย้งระหว่างกองทัพกับฝ่ายนางอองซาน ซูจี เอ่ยเรื่องที่อาเซียนแทรกแซงกิจการภายในเมียนมา
ความก้าวหน้าและจุดยืนอาเซียน 2021
การประชุมสุดยอดอาเซียนเมื่อเดือนตุลาคม 2021 เป็นการประชุมครั้งที่ 38 กับ 39